โครงงาน เรื่อง มือวิเศษ
ผู้จัดทำโครงงาน
ผู้จัดทำโครงงาน
1. นางสาว ปัทมพร ปราบพาล เลขที่ 2
2. นางสาว ศศิธร อินทะนุรักษ์ เลขที่ 5
3. นางสาว มัลลิกา กันทะยศ เลขที่ 17
4. นางสาว ศุภาวรรรณ ห้องนาค เลขที่ 19
5. นางสาว อรุณี เชียงตา เลขที่ 20
6. นางสาว ณัชชา มหาภาคย์มงคล เลขที่ 21
ระดับการศึกษา
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/8 แผนการเรียน อังกฤษ – ฝรั่งเศส
อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน
อาจารย์ ปาริชาติ สุทธิเวทย์
อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานร่วม
อาจารย์ ฉัตรดาว ขันจันทร์
ภาคเรียนที่ 2 ปีการการศึกษา 2552
โรงเรียน นวมินทราชูทิศ พายัพ
ตำบล ดอนแก้ว อำเภอ แม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ 50180
2. นางสาว ศศิธร อินทะนุรักษ์ เลขที่ 5
3. นางสาว มัลลิกา กันทะยศ เลขที่ 17
4. นางสาว ศุภาวรรรณ ห้องนาค เลขที่ 19
5. นางสาว อรุณี เชียงตา เลขที่ 20
6. นางสาว ณัชชา มหาภาคย์มงคล เลขที่ 21
ระดับการศึกษา
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/8 แผนการเรียน อังกฤษ – ฝรั่งเศส
อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน
อาจารย์ ปาริชาติ สุทธิเวทย์
อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานร่วม
อาจารย์ ฉัตรดาว ขันจันทร์
ภาคเรียนที่ 2 ปีการการศึกษา 2552
โรงเรียน นวมินทราชูทิศ พายัพ
ตำบล ดอนแก้ว อำเภอ แม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ 50180
หลักการและเหตุผล
หลักการแนวคิด ที่มา และ ความสำคัญที่ต้องการศึกษา
เนื่องจากในปัจจุบันนี้ ผู้คนมักมีอาการปวดเมื่อยตามร่างกายกันมาก สืบเนื่องจาก
เนื่องจากในปัจจุบันนี้ ผู้คนมักมีอาการปวดเมื่อยตามร่างกายกันมาก สืบเนื่องจาก
การทำกิจวัตรประจำวันต่างๆ และเมื่อมีอาการก็มักจะหาวิธีและอุปกรณ์ต่างๆ ที่จะช่วยให้อาการปวดเมื่อหายเร็วขึ้น ซึ่งการนวดแผนโบราณก็เป็นอีกวิธีหนึ่งที่ได้รับความสนใจไม่น้อยไป กว่าวิธีอื่นๆ จากการลงมติของสมาชิกทุกคนในกลุ่ม จึงได้เสนอวิธีการนวดฝ่าเท้าและฝ่ามือซึ่งก็มีวิธีการนวดและมีจุดเส้นประสาทที่คล้ายๆกันจึงน่าจะนำมาบูรณาการเข้ากันได้ และการนวดในสมัยโบราณมีขั้นตอนที่ไม่ยากเพราะมีการนำภูมิปัญญาชาวบ้านเกี่ยวกับ การกดจุดเส้นประสาทที่ทุกคนสามารถเรียนรู้และฝึกนวดได้ ซึ่งการทำโครงงานครั้งนี้หวังว่าจะเป็นประโยชน์แก่ผู้ที่ศึกษาและสนใจ
วัตถุประสงค์
1. เพื่อเป็นการอนุรักษ์และสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่นของล้านนา
2. เพื่อเผยแพร่วิธีการนวดฝ่ามือ, ฝ่าเท้า ด้วยวิธีการนวดแผนโบราณ
3. เพื่อเป็นการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์และเป็นการหารายได้พิเศษ
4. เพื่อเสริมสร้างทักษะกระบวนการกลุ่ม
5. เพื่อฝึกทักษะในการใช้ภาษาฝรั่งเศสเพื่อการสื่อสารในรายงานวิชาภาษาฝรั่งเศส
สมมติฐาน
การนวดฝ่าเท้าและฝ่ามือเป็นอีกทางหนึ่งในการดูแลสุขภาพที่ช่วยลดความเครียด คลายความปวดเมื่อย และกระตุ้นให้การทำงานของอวัยวะต่างๆ ส่งเสริมให้สุขภาพจิตดี และยังช่วยเสริมรายได้ ขณะเดียวกันผู้นวดต้องมีความระมัดระวังในการนวดด้วย
วัตถุประสงค์
1. เพื่อเป็นการอนุรักษ์และสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่นของล้านนา
2. เพื่อเผยแพร่วิธีการนวดฝ่ามือ, ฝ่าเท้า ด้วยวิธีการนวดแผนโบราณ
3. เพื่อเป็นการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์และเป็นการหารายได้พิเศษ
4. เพื่อเสริมสร้างทักษะกระบวนการกลุ่ม
5. เพื่อฝึกทักษะในการใช้ภาษาฝรั่งเศสเพื่อการสื่อสารในรายงานวิชาภาษาฝรั่งเศส
สมมติฐาน
การนวดฝ่าเท้าและฝ่ามือเป็นอีกทางหนึ่งในการดูแลสุขภาพที่ช่วยลดความเครียด คลายความปวดเมื่อย และกระตุ้นให้การทำงานของอวัยวะต่างๆ ส่งเสริมให้สุขภาพจิตดี และยังช่วยเสริมรายได้ ขณะเดียวกันผู้นวดต้องมีความระมัดระวังในการนวดด้วย
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. สามารถอธิบายขั้นตอนและวิธีการนวดให้แก่ผู้ที่สนใจได้
2. สามารถใช้ภาษาฝรั่งเศสสื่อสารกับชาวต่างชาติที่สนใจในการนวดได้
3. การใช้สมุนไพรพื้นบ้าน
4. เพื่อเผยแพร่งานได้ด้วยใช้สื่อเทคโนโลยี (blog)ได้
5. นำไปประกอบอาชีพเป็นอาชีพเสริมได้
6. สร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างคนในครอบครัว
7. เป็นการดูแลสุขภาพทั้งผู้นวดและผู้ได้รับการนวดอย่างถูกต้อง
8. รู้ระบบประสาท เพื่อให้การนวดถูกวิธี
ขอบข่ายในการทำงาน
2. สามารถใช้ภาษาฝรั่งเศสสื่อสารกับชาวต่างชาติที่สนใจในการนวดได้
3. การใช้สมุนไพรพื้นบ้าน
4. เพื่อเผยแพร่งานได้ด้วยใช้สื่อเทคโนโลยี (blog)ได้
5. นำไปประกอบอาชีพเป็นอาชีพเสริมได้
6. สร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างคนในครอบครัว
7. เป็นการดูแลสุขภาพทั้งผู้นวดและผู้ได้รับการนวดอย่างถูกต้อง
8. รู้ระบบประสาท เพื่อให้การนวดถูกวิธี
ขอบข่ายในการทำงาน
สมาชิกในกลุ่มทุกคนไปศึกษาดูงานที่สถานีอนามัย สำราญราษฏร์ ตำบล สำราญราฏร์ อำเภอ ดอยสะเก็ด จังหวัด เชียงใหม่ และไปศึกษาปฏิบัติด้วยตนเองโดยมีผู้ชำนาญ คือคุณป้า สมเพชร จินะใจ เพื่อจะได้ทราบถึงวิธีการนวดและเทคนิคในการนวดฝ่าเท้าและฝ่ามือ รวมไปถึงภูมิปัญญาท้องถิ่นของชาวล้านนา เพื่อพัฒนาทักษะในการใช้ภาษฝรั่งเศส
ระยะเวลาการทำงาน
ระยะเวลาการทำงาน
26 ตุลาคม 2552 – 27 พฤศจิกายน 2552 และ
11 มกราคม 2553 - 8 กุมภาพันธ์ 2553
กิตติกรรมประกาศ
โครงงานเรื่องการนวดฝ่าเท้าและนวดฝ่ามือจะประสบความสำเร็จไม่ได้ถ้าขาดผู้มีอุปการะ
ดังต่อไปนี้
ขอขอบคุณอาจารย์ ฉัตรดาว ขันจันทร์ ที่ให้คำปรึกษาตลอดมากับโครงงานนวดฝ่าเท้าและ
ขอขอบคุณอาจารย์ ฉัตรดาว ขันจันทร์ ที่ให้คำปรึกษาตลอดมากับโครงงานนวดฝ่าเท้าและ
ฝ่ามือพร้อมทั้งยังแนะนำการวางแผนการทำโครงงานทุกขั้นตอนให้มีประสิทธิภาพและนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้
ขอขอบคุณอาจารย์ ปาริชาติ สุทธิเวทย์ ที่ให้คำปรึกษาในด้านคำศัพท์และช่วยปรับขั้นตอนวิธีการนวดฝ่าเท้าและฝ่ามือให้เป็นภาษาฝรั่งเศสรวมไปถึงวิธีและเทคนิคการนำเสนอ
ขอขอบคุณอาจารย์ ปาริชาติ สุทธิเวทย์ ที่ให้คำปรึกษาในด้านคำศัพท์และช่วยปรับขั้นตอนวิธีการนวดฝ่าเท้าและฝ่ามือให้เป็นภาษาฝรั่งเศสรวมไปถึงวิธีและเทคนิคการนำเสนอ
ผ่านเว็บไซด์ www.blogspot.com
ขอขอบคุณ คุณป้าเพชร จินะใจ ที่ช่วยสอนวิธีการนวดฝ่าเท้าและฝ่ามือครั้งนี้และช่วยสอนเทคนิคการการนวดอีกด้วย
ขอขอบคุณ คุณแม่รัชรินทร์ คำรินทร์ ที่เอื้ออำนวยสถานที่ในการฝึกนวดครั้งนี้
ขอขอบคุณผู้ปกครองของสมาชิกทุกคนที่ช่วยสนับสนุนให้นักเรียนได้ทำกิจกรรมเกี่ยวกับโครงงานนวดฝ่าเท้าและฝ่ามือ จึงทำให้โครงงานนี้สำเร็จลุล่วงไปด้วยดี คณะผู้จัดทำโครงงานจึงใคร่ขอขอบพระคุณทุกท่านดังกล่าวข้างต้นไว้ ณ ที่นี้เป็นอย่างสูง
ขอขอบคุณ คุณป้าเพชร จินะใจ ที่ช่วยสอนวิธีการนวดฝ่าเท้าและฝ่ามือครั้งนี้และช่วยสอนเทคนิคการการนวดอีกด้วย
ขอขอบคุณ คุณแม่รัชรินทร์ คำรินทร์ ที่เอื้ออำนวยสถานที่ในการฝึกนวดครั้งนี้
ขอขอบคุณผู้ปกครองของสมาชิกทุกคนที่ช่วยสนับสนุนให้นักเรียนได้ทำกิจกรรมเกี่ยวกับโครงงานนวดฝ่าเท้าและฝ่ามือ จึงทำให้โครงงานนี้สำเร็จลุล่วงไปด้วยดี คณะผู้จัดทำโครงงานจึงใคร่ขอขอบพระคุณทุกท่านดังกล่าวข้างต้นไว้ ณ ที่นี้เป็นอย่างสูง
แหล่งที่มา
- http://www.tmc.rmutt.ac.th/html/-- http://www.1001massages.com/
- -http://www.1001massages.com/massage-visage-thai.php
- -http://www.1001massages.com/massage-thai.php
- -http://นวดแผนไทย.com/technique.html
-http://ittm.dtam.moph.go.th/data_articles/thai_mssg/thaimssg09.htm
- -http://ittm.dtam.moph.go.th/data_articles/thai_mssg/thaimssg10.htm
- -http://ittm.dtam.moph.go.th/data_articles/thai_mssg/thaimssg10.htm
- หนังสือนวดเพื่อสุขภาพครบวงจร สำหรับประชาชน เรียบเรียงโดย อัมพร ถิ่นประเทศ
สำนักพิมพ์ภูมิปัญญา หน้า113 -133
-หนังสือนวดแผนไทย บทที่5 ขั้นตอนการนวดมือ
-
ขอขอบคุณ




อ






